Blog

ภาวะตาเข (Strabismus)

ภาวะตาเข (Strabismus) ภาวะตาเขคือ สภาวะที่ลูกตาทั้งสองข้างทำงานไม่สอดประสานกัน ส่งผลให้ตาทั้งสองไม่ได้จ้องมองวัตถุเดียวกันในเวลาที่พร้อมกัน โดยผู้ป่วยจะใช้ตาข้างที่ปกติเพียงข้างเดียวในการจ้องมองวัตถุ และตาข้างที่เขจะไม่ถูกใช้งานหรือจ้องมองวัตถุอื่นแทน ตาเขสามารถแบ่งได้เป็น 3 รูปแบบดังนี้ [...]

ภาวะตาเข (Strabismus)2023-09-07T16:11:21+07:00

ไขมันในเลือดสูง ศัตรูตัวร้ายทำลายสุขภาพ

ไขมันในเลือดสูง ศัตรูตัวร้ายทำลายสุขภาพ ไขมันในเลือดสูงเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นวัยทำงานหรือวัยสูงอายุ ผู้ที่มีไขมันในเลือดสูงมักจะไม่มีอาการ แต่ถ้าไขมันในเลือดสูงติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำให้หลอดเลือดแข็งตัวและตีบตัน ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนได้ เช่น โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมองตีบ [...]

ไขมันในเลือดสูง ศัตรูตัวร้ายทำลายสุขภาพ2023-09-07T16:12:10+07:00

ความเสี่ยงจากโรคหัวใจ

ความเสี่ยงการเสียชีวิตเฉียบพลันจากโรคหัวใจในคนวัยต่าง ๆ (Heart Disease) คนส่วนใหญ่มักเชื่อว่าการเสียชีวิตเฉียบพลันจากโรคหัวใจมักเกิดขึ้นในคนสูงอายุ แต่ในความเป็นจริงแล้วการเสียชีวิตเฉียบพลันจากโรคหัวใจสามารถเกิดขึ้นได้ทุกวัย เพียงแต่สาเหตุนั้นอาจจะแตกต่างกันไปในแต่ละช่วงอายุเท่านั้นเอง สาเหตุการเสียชีวิตเฉียบพลันจากโรคหัวใจอาจแบ่งคร่าวๆ เป็น 2 [...]

ความเสี่ยงจากโรคหัวใจ2023-09-07T16:13:30+07:00

ภาวะมีบุตรยากในเพศหญิงกับแพทย์แผนจีน

ภาวะมีบุตรยาก หมายถึง การที่คู่สมรสไม่สามารถตั้งครรภ์ได้โดยที่มีเพศสัมพันธ์อย่างสม่ำเสมอและไม่ได้มีการคุมกำเนิดในระยะเวลา 1 ปี หรือ 6 เดือน ในกรณีที่ฝ่ายหญิงมีอายุเกิน 35 [...]

ภาวะมีบุตรยากในเพศหญิงกับแพทย์แผนจีน2023-09-07T16:14:58+07:00

ไขข้อสงสัยคุณแม่ควรเริ่มฝากครรภ์เมื่อไหร่ดี

ไขข้อสงสัยคุณแม่ควรเริ่มฝากครรภ์เมื่อไหร่ดี ในการฝากครรภ์สำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์นั้นมีความสำคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากแพทย์จะสามารถช่วยดูแลสุขภาพของทั้งคุณแม่และทารกในครรภ์ให้ปลอดภัย อีกทั้งยังเป็นการติดตามพัฒนาการการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์อีกด้วย คุณแม่ตั้งครรภ์ควรเข้ามาฝากครรภ์เมื่อไหร่? คุณแม่ตั้งครรภ์ควรเข้ารับการฝากครรภ์ทันทีที่ทราบว่ามีการตั้งครรภ์ และไม่ควรเกิน 3 เดือน หลังจากมีประจำเดือนครั้งสุดท้ายเป็นอย่างช้า [...]

ไขข้อสงสัยคุณแม่ควรเริ่มฝากครรภ์เมื่อไหร่ดี2023-09-07T16:17:25+07:00

โรคโลหิตจาง หรือภาวะซีดในเด็ก

โรคโลหิตจาง หรือภาวะซีดในเด็ก จะสังเกตได้อย่างไรว่าเด็กซีด ดูขาวเลือดไม่เข้มหรือดูซีด สังเกตจากกิจกรรมของเด็กๆ มีความซนเหมือนปกติไหม? เด็กบางคน เขาดูไม่ร่าเริง ไม่เล่นไม่ซน ทำกิจกรรมต่างๆน้อย [...]

โรคโลหิตจาง หรือภาวะซีดในเด็ก2024-02-05T09:31:03+07:00

การบำบัดด้วยความร้อน

การบำบัดด้วยความร้อน หลายๆคนที่มีอาการบาดเจ็บจากโรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ เช่น ปวดต้นคอ ปวดบ่า ปวดหลัง และปวดเข่า เป็นต้น เมื่อมาพบแพทย์แล้ว แพทย์มักมีการแนะนำให้ทำกายภาพร่วมด้วย [...]

การบำบัดด้วยความร้อน2023-09-08T09:08:32+07:00

การรักษาโดยใช้คลื่นอัลตร้าซาวด์

การรักษาโดยใช้คลื่นอัลตร้าซาวด์ อัลตราซาวด์ เป็นการใช้คลื่นความถี่สูงชนิดหนึ่งที่ไม่เพียงแค่ใช้ในการตรวจดูทารกในสตรีตั้งครรภ์เท่านั้น แต่คุณรู้หรือไม่ว่า การใช้คลื่นอัลตราซาวด์ก็ยังสามารถใช้ในทางการรักษาโรคได้อีกด้วย การใช้อัลตราซาวด์ในการรักษาทางกายภาพบำบัด การบำบัดรักษาโรคด้วยคลื่นอัลตราซาวด์ (Ultrasound Therapy) จะทำให้เกิดความร้อนและการสั่นสะเทือนออกมาในระดับลึกที่บริเวณชั้นใต้ผิวหนังประมาณ [...]

การรักษาโดยใช้คลื่นอัลตร้าซาวด์2023-05-17T13:42:58+07:00

สลายไขมันเฉพาะที่

สลายไขมันเฉพาะที่ สลายไขมันเฉพาะที่ (CryoLipolysis) เทคโนโลยีใหม่ ในการสลายไขมัน ที่นิยมแพร่หลายทั้งในอเมริกา ยุโรป และเอเชีย ทำลายเซลล์ไขมันโดยความเย็น จึงไม่ร้อน [...]

สลายไขมันเฉพาะที่2023-05-17T13:49:20+07:00

4 ข้อควรรู้ก่อนเข้ารับการรักษาแบบ Palliative Care

การรักษาแบบประคับประคอง (Palliative Care) ผู้ป่วยต้องเข้ามารับการรักษาในช่วงสุดท้ายของชีวิตเท่านั้นหรือไม่ แนวทางการดูแลรักษาเป็นเช่นไร? และทำไมคูนจึงให้ความสำคัญกับครอบครัวผู้ดูแลเช่นเดียวกับผู้ป่วย? ปัจจุบันความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาแบบประคับประคอง หรือ Palliative Care [...]

4 ข้อควรรู้ก่อนเข้ารับการรักษาแบบ Palliative Care2023-05-17T13:37:31+07:00

Title

Go to Top